วันพฤหัสบดีที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

(Med) HIV by หมอพงศ์

[med]HIV infection

Oral thrush
Bactrim 
Fluconazole(200) 1 * 1 po pc 7day
Esophageal candidiasis
Fluconazole(200)1-2tab po OD 14-21day
PCP
Bactrim 3-4 tab po TID pc 21day
then 2 tab po OD long life
Prednisolone (60mg/day)7-10day เมื่อPaO2 <70 or A-a gradiene>35 or respiratory failure
TB
2IRZE/4-7 IR
Cryptococcosis
AmphotericinB 0.7-1 MKD 14day
then Fluconazole 400mg/day 10wk
then 200mg/day long life
Toxo
Bactrim 3 tab po TID
+- pyrimethamine (25)8tab po stat
then 4tab po OD 6 wk
then bactrim 2 tab po OD
MAC
Azithromycin 1,200 mg q wk
or
Clarithromycin 500 mg BID

Herpes simplex
Acyclovir (200) 1 tab po 5day
or 5 mg/kg iv q 8 hr 7-14day(severe)
PPE
0.1%TA cream apply lesion BID
Herpes zoster
Acyclovir (800) 1tab po OD 5day
or 10 mg/kg iv q 8 hr 10-14day

การเริ่มยาARV





นิยมใช้NNRTI regimen
NRTI 2 ตัว + NNRTI 1 ตัว
ได้แก่ 
: GPO Vir s 30 ( d4T + 3TC + NVP )
1 tab po q 12 hr
: GPO Vir Z 250 ( AZT + 3TC + NVP )
1 tab po q 12 hr

EFV base regimen ได้แก่
: d4T + 3TC + EFV
: AZT + 3TC + EFV


Boosted PI regimen กรณีใช้ NNRTI ไม่ได้
: IDV/r
: LPV/r

การ lead in
เพราะ NVP มักเกิดSJS, hepatitis, hepatic failure 
โดยให้ NVP -> OD ไป 2 wk -> BID
เช่น GPO Vir S เช้า ร่วมกับ แยกเม็ดของ d4T และ 3TC เย็น
หรือ GPO Vir Z เช้า ร่วมกับ Zilavir(AZT+3TC) เย็น
โดย f/u CBC, AST, ALT, MP rash, SJS

Side effect ARV drug

(Sur) Dog bite

Dog bite

Dog bite
rabiesเป็นเชื้อที่กระจายผ่านทางระบบประสาทและระบบน้ำเหลือง
ซึ่งการติดต่อเกิดได้จากสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่มีเชื้อโรคพิษสุนัขบ้า กัดหรือข่วน 
ซึ่งถ้าเจอผู้ป่วยหมากัดมาไม่จำเป็นต้องซักประวัติหมา แต่ให้ดูที่แผล
แบ่งชนิดของการสัมผัสเป็น 3 catagory คือ
catagory 1.น้ำลาย + skin intact 
             หลักการรักษาคือ การทำแผล
catagory 2. รอยข่วนแต่ไม่มีเลือด
             หลักการรักษาคือ การทำแผล+ฉีดวัคซีน
catagory 3. มีเลือดออก
             หลักการรักษาคือ การทำแผล+ฉีดวัคซีน+passive immunization
หลักการในการ management คือ
1.การล้างแผลผ่านน้ำสะอาดไหลและสบู่ 15 นาที
2.ไม่จำเป็นต้องเย็บแผลนอกจากถูกกัดที่บริเวณใบหน้าเนื่องจากหน้าเป็นที่ที่มีเส้นเลือดมาเลี้ยงเยอะติดเชื้อได้ยากกว่าและเพื่อ cosmetic 
3. การฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้า แบ่งเป็น
- active immunization คือ การฉีด vaccine มีหลายยี่ห้อการฉีด ขนาด ปริมาณไม่เหมือนกัน จะกระตุ้นให้เกิดภูมิสูงสุดในวันที่ 7
      หลักการฉีดแบ่งเป็น
      1.ไม่เคยฉีดครบdose(5เข็มตามWHO ถ้าในไทยเอา 3 เข็ม+หมาไม่ตาย) มาก่อนคือฉีดทั้งหมด 5 เข็มวันที่ 0,3,7,10,28 
       2.ครบ ,ห่างจากเข็มสุดท้ายภายใน 6 เดือน ให้ฉีดกระตุ้น 1 เข็ม
       3.ครบ, ห่างจากเข็มสุดท้ายมากกว่า 6 เดือนแต่น้อยกว่า 30 ปี ให้กระตุ้น 2 เข็มวันที่0,3
- passive immunization คือ HRIG ทำมาจากคนให้ขนาด 20u/kg และ ERIG ทำมาจากม้า ให้ขนาด40u/kg โดยให้ฉีดรอบแผลให้มากที่สุดที่เหลือให้ฉีดim เข้ากล้ามเนื้อใหญ่ๆเช่นต้นขา
   จะกระตุ้นทำให้มีภูมิในวันแรกและจะลดลงในวันที่ 7
   *ในชีวิตหนึ่งฉีดครั้งเดียวในกรณี catagory 3 โดยไม่ได้รับวัคซีนมาก่อน 
4.การฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยัก
: ถ้าเคยได้รับวัคซีนครบชุด (0.5 มล. IM of tetanus or tetanus/diphtheria toxoid จำนวน 3 ครั้ง วันที่ 0, 30 และเข็มที่ 3 ภายใน 1 ปี นับจากเข็มแรก) มาไม่เกิน 5 ปี ไม่ต้องให้ booster หรือ passive immunization เลย ถ้าเกิน 5 ปี ให้ booster 1 ครั้ง ไม่ต้องให้ passive immunization
: ถ้าไม่เคยได้รับวัคซีนครบชุด ให้ฉีด toxoid และให้ passive immunization ด้วย tetanus immunoglobulin 250-500 ยูนิต IM หรือ tetanus antitoxin 3000 ยูนิต IM เมื่อแผลนั้นดูรุนแรง ถ้าดูไม่รุนแรงให้แต่ toxoid อย่างเดียว
: ข้อห้ามของการให้ tetanus toxoid คือ การมีอาการแพ้รุนแรง หรืออาการทางระบบประสาทที่รุนแรง จากการฉีดครั้งก่อน
5.การให้ ATB ไม่จำเป็นในกรณีถูกสุนัขกัดและแผลไม่ใหญ่มากแต่ถ้าแมวกัดต้องให้ ถ้าต้องให้ก็ควรให้ATBคลุมเชื้อgramnegativeและanaerobeเชื้อที่commonคือ pasteurella multocidaให้เป็นamoxiclav หรือถ้าแพ้กลุ่มpenicillin ให้เป็นerythromycin+clindamycin

วันเสาร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

(Med) PVC

[med]PVC

สาเหตุ
IHD VHD 
hypoK hypoMg hyperCa
ยาDigoxin TCA aminoph amitrip caffein alcohol  
Sepsis
Thyriod

วันศุกร์ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

(Med) TB by หมอพงศ์

[med]TB


INH 5-10MKD (neuropathy)
(100) 3 * hs
Rifampicin 10-20MKD (red urine)
(300) 2 * hs
Pyracinamide 20-30MKD (hepatotoxic)
(500) 2 * hs
Etambutal 15-25MKD (eye,liver)
(400) 2 * 1 po  pc
Vit B6
1 * 1 po pc

Z กับ E ปรับเมื่อ CCr <50





(Gynae) leucoria by หมอพงศ์

[GYN]Leukoria

Candida
pH <4.5
None odor
Curd-like, white D/C
Itchy, erythema
KOH-pseudohyphae
Rx clotrimazole (100) 1 cap vg BID 7 day
     Clotrimazole (100) 2cap vg 3 day
    Clotrimazole (500) 1cap vg stat

Trichomonas
pH >6
Rancid odor
Yellow-green, frothy D/C
Severe itchy, strawberry cervix
Motile flagellated organism
Rx Metronidazole (200) 2*3 po pc and treat partner

Bacterial
pH>5
Fishy odor on KOH prep
Grayish-white D/C
Clue cell
Rx metronidazole


Gynecon
1 cap Vg suppo * 5day
Clotrimazole (500) (จากcandida)
1 tab Vg stat

วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2557

(Gynae) PID by หมอพงศ์

[GYN]PID

OPD
Ceftriaxone
250mg im stat 
+ doxycycline (100) 1*2
+_
Metronidazole (200)
2 * 3 po pc 
F/U 7day and ให้ต่ออีก 7วัน

หลักการคือ
ให้ATB คลุม gram neg และ anaerobic
Genta + metro ก็ได้

IPD
A:Cefoxitin 2 g iv ทุก 6 hr
+  doxycycline (100) BID
B:clindamycin 900 iv ทุก 8hr
+ gentamycin 100 iv then 1.5 mg/kg ทุก 8 hr

(Gynae) DUB by หมอพงศ์

[gyn] DUB

Progestin (pure progesterone)
provera (5) or Primalute-N (5)
1 * 2 po pc 10day
then F/U ให้
OCP (estrogen+progesterone) 
1* 3 po pc 10day
ponstan (250)
2 * 3 po pc 
Domperidone ลดS/E OCP
1 * 3 po pc
Premarin (estrogen)(0.625/tab) กรณี bleedมากๆ
4 * 3 po pc
กิน 3วัน ยัง bleed มาก ให้มาใหม่
ถ้าดีแล้ว ให้ pure progesterone ต่อ

External placing

[Med]external pacing

ผู้ป่วยที่มีHeart rate ช้าซึ่งมีผลต่อ hemodynamic เช่น Second degree AV block mobitz type II , Complete Heart Block , Junctional bradycardia
ขั้นตอนการปฏิบัติ
1. เตรียมผิวหนังบริเวณที่จะติดแผ่น electrode ถ้ามีขนมากควรโกนขนออก
2. ติด pad ที่ sternum /apex
3. เปลี่ยนสายเป็น Electrode pad cable และต่อกับElectrode pad
4. เปิดเครื่องเพื่อแสดงภาพคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
5. ติดECG cable Select lead เป็น I หรือ II หรือ III
6. หมุนปุ่มไปที่ pacing7. ตั้งอัตราเร็วของการกระตุ้น (heart rate) (ปกติตั้งไว้ที่ 80 -100ครั้งต่อนาที)
8. เลือก Mode (Fix mode/ Demand mode) เป็น Demand mode
9. ตั้งค่ากระแสไฟฟ้า (output) และเริ่มต้นโดยทำได้ 2 วิธี คือ
9.1 กรณีเร่งด่วนให้ใช้วิธีเริ่มกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าสูงสุด(200 มิลลิแอมแปร์) เมื่อหัวใจจับกระแสไฟฟ้า(capture) แล้วจึงค่อยๆลดกระแสไฟฟ้าลงมาจนถึงจุดต่ำสุดที่ยังจับกระแสไฟฟ้าได้อยู่ หลังจากนั้นเพิ่มกระแสไฟฟ้าขึ้นไปให้คงที่อยู่ที่ระดับสูงกว่าจุดต่ำสุดประมาณ 10%
9.2 กรณี bradycardia ที่ไม่ถึงกับ cardiac arrest ให้เริ่มกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้าต่ำสุดก่อน(1 มิลลิแอมแปร์) แล้วค่อยเพิ่มขึ้นจนหัวใจเริ่มจับกระแสไฟฟ้าได้ หลังจากนั้นจึงเพิ่มกระแสไฟฟ้าขึ้นไปให้คงที่อยู่ที่ระดับสูงกว่าจุดที่หัวใจเริ่มจับกระแสไฟฟ้าได้ 10% โดยทั่วไปในการใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจผ่านผิวหนังจะใช้กระแสไฟฟ้าประมาณ 50-100มิลลิเแอมแปร์

ACLS by หมอพงศ์

[med]ACLS Guidelines - 2010


Adult Basic Life Support


Adult cardiac arrest


acute coronary syndromes


Adult bradycardia


Adult tachycardia with pulp

Post cardiac arrest care



Stroke algorithm

Post mortem change by หมอพงศ์

การเปลี่ยนแปลงหลังตาย (Changes after death

การเปลี่ยนแปลงหลังตาย
1. ทันทีหลังตาย ศพจะอ่อนตัวลง 
2. ศพทีเสียชีวิตใหม่ยังรู้สึกอุ่นและจะเริ่มเย็นลงเรื่อย ๆ จนเท่าสิ่งแวดล้อมภายนอก (1°F / hr) (rectum ทิ้งไว 5 นาที ) คนปกติ 37 °cหรือ98.6 °F ยกเว้น ในรายต่อไปนี้อุณหภูมิจะสูงกว่าปกติราว 1-2 °F ได้แก่พวกที่ตายจากการมีเลือดออกในสมอง, Asphyxia death, Acute infection เช่นTyphoid, Strychnine poisoning ในบางรายผู้ป่วยอาจมีอุณหภูมิลดลงกว่าปกติก่อนตาย เช่น พวกที่ผอมแห้งมากๆ(Phthisis),มะเร็ง,Collapseฉะนั้นจึงเป็นการยากที่จะบอกเวลาตายที่แน่นอนได้
ทั้งนี้เพราะขึ้นอยู่กับ สภาพแวดล้อมด้วย เช่น ศพที่เปลือยหรือแช่ในน้ำย่อมเย็นลงเร็วกว่าปกติ
 3. Rigor Mortis หลังตาย ATP ในกล้ามเนื้อจะลดลงจนหมดไป
· 2 hr ขากรรไกรแข็ง
· 1-4 hr คอ ลําตัว แขน ขา 
· เกิน 6-9 hr แข็งเต็มที่และจะมีการ
· เกิน 12 hr แข็งตัวทุกส่วน
· 18 hr ต่อไปกล้ามเนื้อจะคลายตัวลง ร้อนหรือคลายตัวของกล้ามเนื้อ (Flaccid) ก็เป็นตามลําดับเช่นเดียวกับการแข็งตัว ระยะเวลาที่กล้ามเนื้อทุกแห่งอ่อนตัวกินเวลาประมาณ 12hr ดังนั้น การอ่อนตัวครั้งที่ 2 จะพบหลังตายประมาณ 36-48 hr
 กล้ามเนื้อภายในเช่นกล้ามเนืื้อหัวใจ กล้ามเนื้อกระบังลมก็แข็งตัวได้การแข็งตัวจะเกิดหลังตายแล้ว 30 min ถึง 2 hr
 ระยะเวลาอาจเกิดเร็วขึ้นได้ในรายที่ออกกำลังมากก่อนตายหรือมีไข้สูงก่อนตาย ในศพแช่เย็นจะเกิดช้าและอยู่นานกว่าอากาศร้อน
 การแข็งตัวของศพหลังตายนี้ ต้องแยกจากภาวะการแข็งตัวของศพทีเกิดจากเหตุอื่นคือ
 ก. การแข็งตัวของศพเนื่องจากถูกความร้อน (Heat stiffening) เช่น ถูกไฟไหม้ โปรตีนของกล้ามเนื้อจะเกิดแข็งตัว
 ข. การแข็งตัวของศพเนื่องจากถูกความเย็น (Cool stiffening) ไขมันใต้
ผิวหนังจะแข็งตัวเป็นขี้ผึ้งแข็ง พบได้ชัดในศพเด็กหรือศพคนอวนที่เก็บในตู้เย็นจัด
 ค. การเกร็งตัวของกล้ามเนื้อทันทีหลังตาย (cadaveric spasm) เป็นกรณีทีพบได้น้อยมาก จะพบเฉพาะบางศพและจะเกิดได้ต้องประกอบด้วย3 องค์ประกอบ คือ
1. สมองต้องตายทันทีและถูกทําลาย
2. ต้องมีการใช้กล้ามเนื้อกลุมที่สมองที่ตายทันทีนั้นควบคุมอยู่ ในขณะนั้น
3. ต้องมีความเคร่งเครียดหรือเจ็บปวดอย่างรุนแรง ตัวอย่างเช่น คนยิงตัวตายโดยจอยิงทีขมับ ผู้ยิงเอามือกำปืน สอดนิ้วเข้าในโกร่งไก งอแขน ยกปืนจอขมับ งอนิ้ว เหนี่ยวไกปืน กระสุนแล่นออกทะลุทะลวงถูกศูนย์1,3ในสมอง ซึ่งจะตายทันที Cadaveric spasm ที่เกิดขึ้นและมองเห็นก็คือ บุคคลนั้นจะอยู่ในท่างอแขน และกำมือ
 5. Livor mortis เป็นรอยจ้ำสีชมพูที่ตกอยู่ทางสวนล่างของศพ เนื่องจากแรงดึงดูดของโลก บางรายช่วยชี้สภาพของศพได้เช่น ศพที่แขวนคอตายจะพบ suggillation ชัดที่ส่วนล่างของร่างกาย, บางรายช่วยให้รู้วา มีการเคลื่อนยายศพหลังตายหรือไม่
โดยปกติ ไลวอร์มอร์ตีส จะเริ่มปรากฎหลังตายประมาณ 1 -2 ชั่วโมง (ซึ่งถ้าไม่สังเกตอาจไม่เห็น) และเพิ่มขื้นเห็นชัดเจนทั่วไปใน 12 ชั่วโมง (ยกเว้นพวกที่โลหิตจางจะเกิดช้ากว่านี้) ไลวอร์มอร์ตีสทีมีสีชมพูสดพบได้ในรายที่ตายจากพิษ
คาร์บอนโมนอกไซด์ ไซยาไนด์ สีของไลวอร์มอร์ตีสจะเปลี่ยนเมื่อศพเริ่มเน่า ในศพที่ยังไม่เน่าเราพอแยกได้ว่าเป็นSuggillation หรือ antemortem contusion บริเวณที่เกิดไลวอร์มอร์ตีสนี้ ถ้าหากมีบางสวนทีกดทับอยูทำให้ผิวหนังสวนนันบ๋มเข้าไปสวนนันจะเป็นสีขาว เพราะเมดเลือดจะกระจายไปอยูในสวนทีต่ำกว่า
ตัวอย่างเช่น รอยกดจากเสื้อยกทรง รอยเข็มขัด ไลวอร์มอร์ตีสทีมีสีเทาคลํา มักพบในรายที่ตายจากการขาดอากาศ
 ไลวอร์มอร์ตีสยังเกิดที่อวัยวะภายในด้วย
 6. การเนาของศพ ถ้าไม่มีการรักษาศพโดยวิธีการต่าง ๆ แล้ว ส่วนใหญ่ศพจะเน่าโดย
 ก. ระยะแรกหลังเซลล์ตายจะเกิดการสลายตัว
 ข. ระยะสอง จากแบคทีเรียจากลําไส้เข้าในอวัยวะต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงที่เห็นก่อน คือ ผนังหน้าท้องส่วนล่างมีสีม่วงปนเขียวประมาณ 24 ชั่วโมง หลังตายศพจะเริ่มเน่าเห็นได้ชัด ถ้าอากาศร้อนจะเน่าเร็วกว่านี้ ผิวหนังเริ่มลอกหลังตาย 36-48 ชั่วโมง เมื่อศพเนาเต็มที่จะเกิดแก๊ส ลิ้นจุกปากแขนขากาง ตาถลน ผิวหนังบวมเป่ง อัณฑะบวม หลังตาย 72 ชั่วโมงจะเนาเต็มทีมีกลิ่นเหม็นมาก น้ำเหลืองเยิ่ม (หลังศพเน่าเต็มทีแล้วเราจะประมาณเวลาตายได้ยากทั้งนี้เพราะเกี่ยวข้องกับอุณหภูมิและความชื้นของอากาศด้วย) ลําดับการเน่าของศพก่อนหลังดังนี้ เริมด้วยลําไส้เริ่มกอนเพราะมีแบคทีเรียมาก เนื้อสมองจะเละ ปอดนุ่มมีนํ้าเต็ม ตับจะพรุนเนื่องจากผลการสลายตัวทําให้เกิดแก๊ส ม้ามนุ่มเปือย อวัยวะที่เน่าช้า ได้แก่ มดลูก, ต่อมลูกหมาก
· หลังตาย 2-3 สัปดาห์ พวก Abdominal viscera จะเหลวเละกลายเป็นของเหลว
· จะเหลือแต่กระดูกใน 2-3 เดือนต่อมา
· กินเวลาหลายปี ที่กระดูกจะผุหมด
การเน่าของศพจะเร็วช้าขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศด้วย ถ้าร้อนก็ทำให้เน่าเร็ว ศพคนอวนมีไขมัน มากเน่าเร็วกว่ศพคนผอม, ศพเด็กเน่าเร็วกว่าศพผูใหญ่ ศพที่ตายจากโรคติดเชื้อเน่าเร็ว, ศพบนดินเน่าเร็วกว่าศพที่ถูกฝังลึก ๆใต้ดิน, ศพทีโรยปูนขาวไว้เน่าช้ากว่าที่ไม่ได้โรย ฉะนั้นการคาดคะเนเวลาตายให้แน่นอนสำหรับศพที่เน่าแล้วจึงทําให้ยาก ทั้งนี้เพราะเกี่ยวข้องกับ สิ่งแวดล้อมนั้น ๆ ดังกล่าวแล้วเป็นต้น มีส่วนน้อยมากที่ศพไม่เนาตามธรรมชาติ ได้แก่
1. ศพแห้งไปเฉย ๆ เรียก Mummification เกิดจากอากาศร้อนและแห้งมาก มีความพอเหมาะพอดีระหวางสภาพศพกับ สิ่งแวดล้อม เป็นศพของคนผอม ไม่มีไขมัน, อยู่ในสภาพทีแบคทีเรียเจริญได้ยาก สภาพศพคล้ายมัมมีพบได้น้อย แบบนี้ยากทีจะ ประมาณเวลาตายได้แน่นอน
2. การแข็งตัวของไขมัน (Adipocere) โดยปกติศพที่เน่าแล้วไขมันจะแข็งตัวเป็นขี้ผงสีขาวร่วน พบในศพที่ฝังใน ที่อากาศชื้นและมีอุณหภูมิค่อนข้างเย็น ในเมืองไทยยังไม่เคยพบแบบหลังนี้
7. เราอาจประมาณเวลาตายจากการทํางานของอวัยวะบางระบบได้ เช่น
ก. กระเพาะอาหาร ตรวจพบมีอาหารเต็มในกระเพาะโดยสภาพอาหารยังไม่เปลี่ยน บอกได้ว่าเวลาตายจะ ใกล้เคียงกับระยะเวลาอาหารมื้อสุดท้าย อาหารผสมปกติจะย้อยหมดใน 2-8ชั่วโมง
ข. กระเพาะปัสสาวะ ผ่าตรวจพบว่าไม่มีปัสสาวะเลยแสดงว่าผู้ตายตายภายหลังถ่ายปัสสาวะครั้งสุดท้ายไม่นาน ถ้าตายตอนกลางคืนก็น่าจะเป็นตอนหัวคํา เพราะคนปกติมักจะถ่ายปัสสาวะก่อนเข้านอน เป็นต้น
 สรุป ในการตัดสินเวลาตายนั้นต้องอาศัยหลักต่าง ๆ มาประกอบการพิจารณา รวมทั้งต้องคํานึงถึงสภาพแวดล้อมอื่น ๆ

(Ped) Delay puberty by หมอพงศ์

[GYN]delayed puberty

difinition : 
In girls
lack of breast development by age 13 years (some authors use a cut-off of 12 years)
lack of pubic hair by age 14 years
lack of menarche by age 16 years
or greater than five years between thelarche and menarche.
In boys 
delayed if testicular enlargement does not occur by 14 years of age
lack of pubic hair by age 15 years
or more than five years are required to complete genital enlargement. 

DDx
: constitutional delay of puberty (CDP)
: growth retarding or attenuating disorders, i.e., undernutrition, endocrinopathies, metabolic disorders, and chronic disease
: primary gonadal failure (hypergonadotropic hypogonadism)
: gonadotropin deficiency (hypogonadotropic hypogonadism).
The vast majority of those children who experience delayed puberty will have CDP 


Tanner stage (breast , external genitalia)
Investigation 
CBC 
Cortisol 
LH FSH E2
TSH 
GH 
Chromosome study 

AF by หมอพงศ์

[med]AF


investigation
CBC BUN Cr ภาวะซีด หรือไตวาย สามารถกระตุ้นให้เกิด AF หรือทำให้การควบคุม
AF ทำได้ยาก
Thyroid function test
Chest X-ray
+,- Echocardiogram เพื่อตรวจว่ามีโรคหัวใจอื่นร่วมด้วยหรือไม่ ใช้ในกรณีที่สงสัยภาวะ AF ในรายที่ผู้ป่วยไม่ได้เป็น AF ตลอดเวลา หรือมีอาการรุนแรง เช่นเป็นลมหมดสติหรือใช้ในการติดตามผลการรักษา

ประเภทของAF
1 First diagnosed atrial fibrillation เป็น atrial fibrillation ที่วินิจฉัยพบเป็นครั้งแรก
2 Paroxysmal atrial fibrillation เป็น atrial fibrillation ที่เกิดขึ้นและกลับเป็น sinus rhythm ได้เอง ส่วนใหญ่กลับได้เองภายใน 24 ชั่วโมง แต่อาจเป็นนานได้ถึง 7 วัน
3 Persistent atrial fibrillation เป็น atrial fibrillation ที่เกิดขึ้นต่อเนื่องนานเกิน 7 วัน หรือไม่สามารถกลับมาเต้นเป็นปกติได้เอง ต้องอาศัยการรักษาด้วยการกลับจังหวะ (cardioversion)
4 Long standing persistent atrial fibrillation เป็น atrial fibrillation ที่เป็นต่อเนื่องมานานกว่า 1 ปีโดยแพทย์และผู้ป่วยตัดสินใจพยายามรักษาให้กลับมาเต้นปกติ

อาการ
อาการอาจเป็นๆหายๆ หรือเป็นต่อเนื่องเรื้อรัง ซึ่งแต่ละคน จะไม่เหมือนกัน บางคนอาจไม่มีอาการ ผู้ป่วยที่เป็นโรคโรคหัวใจห้องบนสั่นพลิ้วอาจมีอาการดังต่อไปนี้
1.ใจสั่นหรือใจเต้นเร็วไม่สม่ำเสมอ
2. เหนื่อย เพลีย
3. เจ็บ แน่นหน้าอก
4. เวียนศีรษะ หรือเป็นลมหมดสติ
สาเหตุ อาจเกิดได้จากหลายสาเหตุเช่น
1. โรคหัวใจชนิดต่างๆ เช่น โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
2.โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไทรอยด์ อ้วน
3.โรคทางเดินหายใจ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ
4.โรคไตเรื้อรัง
5.ภาวะเครียด การดื่มสุราหรือเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนจัด การสูบบุหรี่
6.ผ่าตัดหัวใจ
นอกจากนี้อาจเกิดได้โดยไม่มีสาเหตุเกี่ยวข้องกับโรคใดๆ  จัดเป็นความผิดปกติของระบบไฟฟ้าในหัวใจแต่เพียงอย่างเดียว ในกรณีนี้มักพบในคนที่มีอายุน้อย เรียกว่า Lone AF
CHA2DS2-VASc score

Risk factor
Score
Congestive heart failure/LV dysfunction
1
Hypertension
1
Age > 75
2
Age 65-75
1
Diabetes
1
Stroke/TIA/thrombo-embolism
2
Vascular disease
1
Sex category (female)
1


Management
1.       รักษา precipitating cause ของ AF เช่น hypoxemia, acidosis
2.       Antithrombotic
o   CHA2DS2-VASc score > 2 หรือมี mitral stenosis หรือ prosthetic heart valve แนะนำให้กิน anticoagulant ได้แก่ warfarin ให้ INR อยู่ที่ระดับ 2.5 (2.0-3.0) หรือ dabigatran 150 mg bid (ถ้า HAS-BLED score > 3 ให้ dabigatran 110 mg bid); **prosthetic aortic valve ให้ INR > 2.0 และ mitral ให้ INR > 2.5
***Rivaroxaban 20 mg OD with evening meal (15 mg OD ถ้า CrCl 30-50) ให้ใน non-valvular AF มีข้อดีเหนือกว่า warfarin เพราะไม่ต้องmonitor INR level ซึ่งทำให้ quality of life ของผู้ป่วยดีขึ้น
o   CHA2DS2-VASc score = 1 แนะนำให้กิน anticoagulant ได้แก่ warfarin ให้ INR อยู่ที่ระดับ2.5 (2.0-3.0) หรือ dabigatran 110 mg bid
o   CHA2DS2-VASc score = 0 ไม่แนะนำให้ใช้ antithrombotic therapy
***ASA low dose < 100 mg/d อาจจะให้แทน anticoagulant ถ้า CHA2DS2-VASc score 0-1 แต่พบว่าanticoagulant สามารถลด disabling stroke/clinically significant arterial embolism ได้มากกว่า 52%โดยไม่เพิ่ม risk ของ major hemorrhage (เพิ่ม risk ICH 0.2% ต่อปี)
***Pericardioversionผู้ป่วย AF ที่ต้องการ emergency cardioversion ให้ UFH IV bolus หรือ LMWHหลังทำ cardioversion ถ้า AF > 48 ชั่วโมง หรือไม่ทราบ onset หรือ high risk stroke ชัดเจนให้ OAC ต่อ
3.       Rate control ถ้า hemodynamic stable ต้องเริ่มจาก rate control ก่อนเสมอ ให้ HR อยู่ระหว่าง 80-100 เลือกยาตาม condition ของผู้ป่วยเช่น
o   No hypotension or HF: b-blocker หรือ CCB (ถ้า hemodynamic stable HF with low EFยังเลือกให้ b-blocker เป็น 1st line drug)
o   Hypotension or HF: Amiodarone หรือ Digoxin
o   Pre-excitation: Amiodarone
o   Obstructive pulmonary disease: Verapamil, Diltiazem, low dose b-1 blocker (bisoprolol)


IV administration
Oral MT
b-blockers
Metoprolol
2.5-5 mg IV over 2 min (up to 3 doses)
ER100-200 mg od
Bisoprolol
N/A
2.5-10 mg od
Atenolol
N/A
25-100 mg od
Esmolol
50-200 mg/kg/min IV

Propanolol
0.15 mg/kg IV over 1 min
10-40 mg tid
Carvedilol
N/A
3.125-25 mg bid
Non-dihydropyridine calcium channel antagonists
Verapamil
0.0375-0.15 mg/kg IV over 2 min
40 mg bid – ER 360 mg od
Diltiazem
N/A
60 mg tid – ER 360 mg od
Digitalis glycosides
Digoxin
0.5-1 mg IV
0.125-0.5 mg od
Digitoxin
0.4-0.6 mg IV
0.05-0.1 mg od
Others
Amiodarone
5 mg/kg in 1 h then 50 mg/
100-200 mg od
Dronedarone
N/A
400 mg bid

4.       Rhythm control พิจารณา rhythm control ถ้า EHRA > 2 แม้ว่าจะ control rate ได้ดีแล้ว หรือ AF-related HF
o   Hemodynamic instability (MI, CHF, hypotension): Direct current cardioversion ถ้าไม่ตอบสนองต่อยาอย่างรวดเร็ว อาจให้ pretreatment ด้วย Amiodarone, flecainide, propafenone, ibutulide, sotalol ก่อนจะทำให้ลดโอกาส recurrent AF ได้ แนะนำให้เลือกbiphasic shock และ anteroposterior electrode placement
o   No structural heart disease: Flecainide 2 mg/kg IV over 10 min/200-300 mg PO หรือPropafenone 2 mg/kg IV over 10 min/450-600 mg PO
o   Structural heart disease: Amiodarone 5 mg/kg IV over 1 h หรือ Ibutulide 1 mg IV over 10 min +/- repeat infusion in 10 min (ทำให้ prolongation ของ QT interval และtorsades ds pointes ได้)
5.       Long term rate control เลือกยากลุ่ม b-blocker, CCB, digitalis; ถ้าเป็น pre-excitation AF เลือกamiodarone หรือ propafenone; เป้าหมายเริ่มต้นให้ resting HR < 110 bpm (ค่อยๆปรับถ้ายังมีอาการหรือมี tachycardiomyopathy ให้ resting HR < 80 bpm และ HR during moderate exercise < 110 bpm โดยติด Holter monitor ดู) 
6.       Long term rhythm control F/U กับ specialist ต่อไป; condition ที่มักเลือก rhythm control เช่นthyrotoxicosis, HCM, athletes

(Ped) Viral croup by หมอพงศ์

[viral croup]



อาการและอาการแสดง/คะแนน
0
1
2
ไอ
ไม่มี
ร้องเสียงแหบ
ไอเสียงก้อง
เสียงstridor
ไม่มี
มีขณะหายใจเข้า
ขณะหายใจเข้าและหายใจออก
Chest retraction & nasal flaring
ไม่มี
มี nasal flaring & suprasternal retraction
เหมือน ร่วมกับsubcostal & intercostal retraction
เขียว
ไม่มี
เขียวในอากาศธรรมดา
เขียวในออกซิเจน40%
เสียงหายใจเข้า
ปกติ
hash with rhonchi
ช้าและเข้ายาก



treatment
ขึ้นกับระดับความรุนแรงของภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบน
1. Mild croup score<4
สามารถให้การรักษาตามอาการที่บ้านได้โดยการให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง 
: dexamethasone 0.15 mg/kgหรือprednisolone 1 mg/kg oral OD ช่วยลดอัตราการกลับเข้ามารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินได้
2. Moderate Croup score4-7
: nebulized epinephrine (1:1,000) 0.5 ml/kg (age < 4 Max 2.5 ml age >=4 Max 5 ml)
: dexamethasone ขนาด 0.15, 0.3 หรือ0.6 mg/kg. oral/im
: nebulized budesonide ในขนาด มก.
เฝ้าสังเกตอาการต่อประมาณ ชม. โดยการเฝ้าติดตามอาการแสดงทางคลินิกและค่าความอิ่มตัวของออกซิเจน (Oxygen saturation) จากเครื่อง pulse oximeter หรือประเมินด้วย croup score ก่อนและหลังให้การรักษา
ถ้าอาการดีขึ้นชัดเจน ให้กลับบ้านได้ โดยให้การรักษาตามอาการและให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครอง
ถ้าอาการดีขึ้นบ้าง ให้เฝ้าสังเกตอาการต่อที่ห้องฉุกเฉิน พิจารณาพ่น nebulized epinephrine ซ้ำ หากอาการหอบยังไม่ดีขึ้นให้รับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล กรณีผู้ป่วยดีขึ้น และ/หรือญาติปฏิเสธที่จะนอนรักษาในโรงพยาบาลควรให้ให้คำแนะนำแก่ผู้ปกครองและนัดติดตามอาการที่แผนกผู้ป่วยนอก
ถ้าอาการไม่ดีขึ้น ให้รับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล พร้อมทบทวนการวินิจฉัยโรค ให้ใช้ nebulized epinephrine (1:1,000) ขนาด 0.5 ml/kg.ซ้ำ ถ้าอาการยังไม่ดีขึ้นให้พิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ
3. Severe Croup score>7
ควรรีบให้การรักษาโดยการให้ออกซิเจน ไม่รบกวนผู้ป่วยโดยไม่จำเป็น ให้ nebulized epinephrine (1:1,000)  0.5 ml/kg. และให้dexamethasone ขนาด 0.6 mg/kg IM และพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจถ้าอาการไม่ดีขึ้น

ข้อบ่งชี้ในการรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล
1.      มีประวัติเคยเกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจส่วนบนอย่างรุนแรง
2.      มีประวัติเคยเป็น croup ชนิดรุนแรง หรือมีทางเดินหายใจผิดปกติแต่กำเนิด
3.      อายุน้อยกว่า เดือน
4.      มีภาวะหายใจลำบากชัดเจน หรือหายใจมีเสียงstridor ขณะพัก
5.      มีภาวะขาดน้ำชัดเจน
6.      ผู้ปกครองมีความกังวลใจ
7.      ระยะทางระหว่างบ้านกับโรงพยาบาลไกลเกินไปหรือมีปัญหาในการเดินทางกลับมาโรงพยาบาลถ้าผู้ป่วยมีอาการเลวลง
8.      ผู้ป่วยต้องกลับมาตรวจที่ห้องฉุกเฉินอีกครั้งภายใน 24 ชั่วโมง
9.      การตอบสนองต่อการรักษาไม่ดี
10.    การวินิจฉัยโรคยังไม่มีข้อสรุปที่ชัดเจน