วันพฤหัสบดีที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2557

(Med) แก้ E lyte

แก้ e lyte
1.Na
Oral form
-ให้กินใน Renal salt loss, SIADH โดยคิด Na ที่ต้องการจากสูตรได้เป็น mEq 
- mEqNa x 23 = mgNa
- เกลือแกง1ช้อนชา = 5 g NaCl = 2 g Na
Iv form
-หา Na เป็น mEq ที่ต้องการแก้แล้วเลือกชนิด Saline เช่น 110->120 
BW 50 --> ต้องการ Na 0.6x50x10 = 300 mEq 3%NaCl มี 514 mEq/L  ดังนั้นต้องการ 583 ml in 24 hr
หมายเหตุ
-หาว่าต้องเติมNa กี่mEq =(Naหลัง-Naก่อน)xTBW 
-แก้ไม่เกิน 10 mEq/L/day or 1mEq/L/hr
-ตาม Serum Na q 2 hr
-ในเด็ก อ่าน Harriet Lane

2 K
Oral form
-ถ้าคนไข้ Alkalosis หรือ normal :Elixer KCl 30 ml oral (20 meq/15 ml)
-ถ้าคนไข้ Acidosis เช่น RTA, CKD ให้ 
K Citrate 45 ml oral (10 mEq/15ml) 
-AddiK tab 10 mEq/tab ถ้ามีปัญหารสชาติ
Iv form
-ให้ IV เสมอถ้า K < 2 
-แก้ไม่เกิน 10 mEq/hr (เด็ก<0.3 mEq/kg/hr) ทุกวิธี ถ้าเร็วว่านี้ต้องเข้า ICU มี monitor ด้วยdefibrillator
-Peripheral line : KCl 40 mEq + NSS 1000 ml IV drip 80 ml/hr (max 250 ml/hr)
-Central line : KCl 10 mEq + NSS 100 ml IV drip 100 ml/hr
หมายเหตุ
- กะๆ เอาว่า K ที่ลดลง 0.3 mEq/L = ขาด 100 mEq แต่ถ้าไตวายหรือ shift อาจจะขึ้นมากกว่านี้
-ไม่แก้ K ถ้า urine ไม่ออก ยกเว้นกำลังจะ arrest
-HypoK ทำให้ EKG -> flatT, U wave, AF, VT, VF
เด็ก
K3-3.5 : แก้ 1-2 mEq/kg, K2.5-3 แก้ 2-3mEq/kg

3. HCO3
Oral form
-Sodamint 1x3 oral ให้ใน RTA, CKD

Iv form
- 7.5% NaHCO3- iv 50 ml/amp (มี Na 44.5 mEq) ผสมจนได้สารละลาย [Na] = NSS Ex. 3 amp (Na150mEqแล้ว) + 5%DW 850ml, 1amp+5% N/2 950ml
-Acidemia ทั่วๆไปให้ได้เมื่อ pH<7.2 แต่ DKA จะต่ำกว่าคือ < 7 เพราะมันมักจะดีได้เอง
-ระวัง แก้เยอะๆจะ hypocal ได้ esp ใน CKD, cell lysis, คนไข้ hypocal อยู่เดิม
หมายเหตุ
       สำคัญต้องแก้เหตุ การให้ NaHCO3 มักจะเป็น HCO3 ปริมาณดิดเดียวเมื่อเทียบกับกรดในร่างกาย ใช้แค่ซื้อเวลาเฉยๆ (จริงๆแล้วถ้า Acidemia มากๆ ให้แก้ด้วย res, alkalosis ก่อนจะดีกว่าการฉีด NaHCO3) มีบทบาทในการชดเชยแค่ : CKD, renal loss of HCO3
เด็ก : 1 mEq/kg/dose

4 Ca
Oral
-CaCO3 (1g = Ca 400 mg) คนเราดูดได้มากสุด 1 g ต่อมื้อ ดังนั้นกินได้มากสุดมื้อละไม่เกิน 2 เม็ด ก่อนอาหาร
-VitD : activeD(1-25) ให้ในคนท้องและคนที่มีปัญหา PTH 0.25 mcg/tab 1x2 oral
-VitD : D2 (25) ต้องไปเปลี่ยนที่ตับอีกที ให้ 20,000 u / week
IV form
-CPR :10% Cagluconate iv 15-30 ml
-hyperK : 10% Cagluconate iv 10 ml x 3
-Tetany : 10% Cagluconate 20 ml + NSS 100ml iv drip in 2 hr เมื่อหาย tetany แล้วให้ maintain ด้วย 10amp (100ml) + NSS 1000 rate 50ml/hr แล้วต่อด้วย Ca+VitD
เด็ก : 10ml/kg/dose ผสมSterile water 1 เท่า
-Tetany : overt = เห็นเลย, latent = ต้องตรวจ Chovstek's&Trussau sign
-เวลาที่กิน Ca สำคัญ
กินก่อนอาหาร 30 นาที เพื่อเพิ่ม Ca
กินพร้อมอาหาร เพื่อเป็น phosphate binder
-สารละลายห้ามผสมน้ำตาล

5 Mg
Oral form
การกินจะ diarrhea จะลำบากกินได้ไม่เยอะ
5% MgCl2 10-15 ml/ มื้อ
1 ml มี 50 mg
IV form
-Torsa de pointes : Load 2 g drip 1 g/hr
-Preclampsia : Load 4 g drip 2 g/hr
แก้บ้านๆ : drip 4 g in 4 hr, และ 2 g in 4 hr ในวันที่สองและวันที่สาม 
50% MgSO4 8 ml + NSS 100 ml drip in 4 hr
-50% MgSO4 1 ml = 0.5 g Mg 
-การผสมในสารละลาย ผสมอะไรก็ได้ เท่าไหรก็ได้ drip ให้ทันเป็นพอ
-Follow Mg เวลาแก้บ้านๆ  ให้ดูที่สามวัน
เด็ก : 25-50 mg/kg oral or IV แก้แล้วตามได้เลย

6 PO43
Oral form
-การกินจะ diarrhea จะลำบากกินได้ไม่เยอะ
Acidic phospate 10-15 ml/ มื้อ
1 ml มี 33 mg
IV form
-K2HPO4 (Dipotassiumhydrogenphospate) 40 mEq + NSS 1000 ml iv เหมือนแก้ K
-Fructose1,6bisphosphate (Esaphosphena) 5 g (ขวดละ 5 gผสมมาแล้ว ) IV drip in 1 hr
ในเด็ก มักใช้ในเด็กที่ขาด phosphate เช่น rickets จะให้ 70-100 mg/kg/day

Chelation (hyper-)
1 Na
Oral
-Adult : กินน้ำเปล่าเป็น ml ตามที่คำนวณได้จาก free water deficit ได้เลย
IV 
-Adult : ใส่ 5%DWเป็น ml ตามที่คำนวณได้จาก free water deficit ได้เลย ส่วนถ้าคิดว่ากำลังขาด volume ให้ load NSS ไปก่อน พอผล hyperNa ออกมาค่อยแก้น้ำ
-Ped: ให้คิดก่อนว่าขาด volume เท่าไหรเป็น 3%6%9% จากนั้นเอา free water deficit ไปลบจาก volume นั้น ที่เหลือเป็น NSS เช่น 6% def 10 kg = 600 ml ถ้าขาด freewater 200 ก็ใส่ Na = 140 mEq/L x 400 ml = 56 mEq
หมายเหตุ
-หา Free water deficit จาก N1V1 = N2V2 หรือ 
Naเริ่มต้นTBW1 = Naที่ต้องการTBW2
- เมื่อได้ค่า TBW2 แล้ว - TBW1 = free water deficit
เด็ก อ่าน Harriet Lane

2 K
Oral
พวกนี้ต้องถ่ายอุจจาระถึงจะลด K ได้, ต้องระวัง colonic obstruction ด้วย
-Ca exchange resin (Kalimate) 30 g + น้ำ 50 ml (เด็ก 1 g/kg)
-Na exchange resin (Kayexalate) 30 g + sorbitol 50 ml (เด็ก 1 g/kg)
IV
-10% Ca gluconate 10 ml repeat ได้ 3 dose
เด็ก 1 ml/kg/dose ผสมใน sterile water 1 เท่า 
-RI 10 U iv + 50% glucose 50 ml IV ตาม น้ำตาลใน 30 นาที
เด็ก 0.1 U/kg + glucose 1 g/kg
หมายเหตุ
-hyperK ทำให้ Tall T, P waveหาย, PR prolong พวกนี้ try med ได้ แต่ถ้า QRS กว้าง, sinus arrest ต้องไป dialysis (I/C 1.severe hyperK, 2.Intractible hyperK)

3 HCO3-  
แก้เหตุ approach ไปตาม met. Alkalosis

4 Ca
Iv
-fluid replacement ให้ NSS จน urine ออก> 3L/day (ถ้าไม่ถึง ให้ให้ furosemide)
- maintain euvolemia เพราะถ้า hypovolemia ไตจะดูด Ca กลับมา
-ใน Hematologic malignancy, VitD toxicity, gramulomatous disease ให้ steroid : Dexa 5-10 mg iv OD
หมายเหตุ
if symptomatic hyperCa คือซึม หรือ Total Ca > 13  ให้ให้ยา 2 ชนิดนี้คู่ไปด้วย
1.Calcitoin ให้ 2 วัน actionว  2-4 d
2.Bisphophonate ให้ทีเดียว ออกฤทธิ์หลัง 2-4 d ยาวไปจนถึง 2-4 wk

5 Mg
 IV
ใช้ Calcium gluconate ช่วย stabilize cell เหตุผมเพราะมันทำงานเหมือนๆ K
หมายเหตุ
ไม่มีวิธีแก้ จะทำก็ dialysis เลย

6 PO43-
Oral
if Total Ca x PO43- < 55 : 
CaCO3 (1g) 1x3 oral with meal
if ผลคูณนี้ > 55 :
Aluminium hydroxide 15 ml tid with meal

วันอาทิตย์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2557

Thyroid storm

Wartofsky score  >=45 
                          25-45 support diag
Ix
FT4 FT3 TSH
CBC CXR UA H/C

Mx
-PTU (50) load 600 mg then 300 mg g 6 hr 1-2 วัน แล้วลด 600mg/day ต่อด้วย 450 mg /day 3 wk
-lugol solution 10 drop o g8 *7 วัน (ให้หลัง PTU 1 hr (ยับยั้งการหลัง thyroid h. จากต่อม)
-dexamethasone 5 mg iv g 12 hr หรือ hydrocortisone 100 mg iv g 8 hr * 3 day  (ยับยั้งการเปลี่ยน T4 เป็น T3)
-paracetamol or tapid sponge ลดไข้
- HR สูง ให้ propanolol
-CHF ให้ furosemide +- digoxin
-5%Dn2 1000 + bco 2 ml

วันจันทร์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2557

[med]WPW syndrome by หมอพงศ์

[med]WPW syndrome

เกณฑ์ที่ยอมรับในการวินิจฉัย Wolff-Parkinson-White Syndrome (อิงจาก American Heart Association and American College of Cardiology guidelines :

1)PRintervallesserthan0.12seconds
2) A slurring of the initial segment of the QRS complex, known as a delta wave,
3) A QRS complex widening with a total duration greater than 0.12 seconds, and
4) Secondary repolarization changes reflected in ST segment-T wave changes that are generally directed opposite (discordant) to the major delta wave and QRS complex changes. 

แบ่งเป็น2ชนิด
ชนิด A ; Delta wave และ QRS complex จะเป็นบวกใน precordial lead , ลักษณะ R wave ใน V1จะสูง เด่นและมักถูกสับสนกับ Right bundle branch block

ชนิด B ; Delta wave และ QRS complex จะเป็นลบใน V1 และ V2 และเป็นบวกใน precordial lead อ่ืนๆ มักถูกสับสนกับ Left bundle branch block 

Type A (R wave สูงเด่นใน lead V1) มักถูกอ่านผลสับสนกับ:
Right bundle branch block
Right ventricular hypertrophy
Posterior myocardial infarction

Type B (QRS complex เป็นลบใน lead V1) มักถูกอ่านผลสับสนกับ:
Left bundle branch block
Anterior myocardial infarction 

คนไข้ที่เป็น WPW syndrome  อาจมีอาการต่อไปนี้:
§  เจ็บหน้าอก หรือแน่นหน้าอก (chest pain or chest tightness)
§  รู้สึกวิงเวียน (dizziness)
§  เป็นลม (fainting)
§  ใจสั่น (palpitation)
§  หายใจไม่พอ  หรือหายใจไม่อิ่ม (shortness of breath)
Treatment
ในคนไข้ที่เป็นโรค WPW syndrome ซึ่งมีการเต้นหัวใจเร็วเกิน  สามารถควบคุม  หรือป้องกันได้ด้วยการใช้ยา  เช่น adenosine, antiarrhythmia amiodarone 

ในรายที่เราไม่สามารถควบคุมหัวใจเต้นเร็วได้  อาจใช้ electrical cardioversion
แต่ในปัจจุบัน  เรานิยมรักษาภาวะ WPW syndromeด้วยวิธีทำลายตำแหน่งในหัวใจที่ทำให้หัวใจเต้นเร็ว  เรียกว่า radiofrequency  Ablation

[med]edema approach by หมอพงศ์

[med]edema approach


2.1 Generalized edema
    - บวมจากโรคหัวใจวาย
    - บวมจากโรคต่อมไร้ท่อ เช่น hypothyroidism, Cushing syndrome
    - malnutrition (Kwashiorkor)
    - anaphylaxis
    - pregnancy  PIH
    - tumors

    -  บวมจากโรคไต (nephritic, AGN, ESRD
    -  บวมจากโรคตับ (cirrhosis)
    -  บวมจากยา  เช่น ACEI, NSAIDS, steroid, pills, Amlodipine
2.2 Local edema
    - venous thrombosis – DVT, SVCO
    - lymphatic obstruction
    - infection / inflammation
    - trauma
    - allergy

[med]dysphagia by หมอพงศ์

[med]dysphagia

Approach dysphagia 
***ต้องแยกจาก odynophsgia (กลืนแล้วเจ็บ เช่น candidiasis) ออกก่อน
    
    ? ตำแหน่งที่ติดและอาการร่วม
    ? กลืนของแข็งหรือของเหลวลำบาก
    ? progressive หรือ intermittent    
    ? มี heartburn หรือเปล่า


ขณะกำลังกลืนอาหารในปากแล้วมีอาการสำลัก ไอ หรืออาหารออกจมูก 
oropharyngeal  disphagia มักเกิดจาก neuromuscular เช่น stroke, ALS  หรือมีก้อนในช่องปาก


กลืนลงหลอดอาหารแล้วจึงติด  esophageal disphagia
2.1 กลืนของแข็งและเหลวแล้วติด neuromuscular disorders :      
      ถ้าเป็น intermittent                diffuse esophageal spasm (DES)
      ถ้าเป็น progressive                 scleroderma / achalasia
2.2 กลืนของแข็งแล้วติด mechanical obstruction
      ถ้าเป็น intermittent                  lower esophageal ring
        ถ้าเป็น progressive                stricture / cancer

สาเหตุอื่นๆ เช่น GERD , somatization

[med]adult sexual assault by หมอพงศ์

[med]adult sexual assault

Ceftriaxone 250 mg IM single dose สำหรับ Gonorrhea 
ร่วมกับ
Doxycycline 100 mg PO bid 7 วัน สำหรับ Chlamydia  
ร่วมกับ
Metronidazole 2 gm PO single dose สำหรับ Trichomonas

AZT 300 mg PO bid ร่วมกับ
Lamivudine 150 mg PO bid 
เป็นเวลา 28 วัน
โดยให้ยาไปก่อนประมาณ 10 วัน และนัดมาติดตามอาการ ดูผลข้างเคียงของยา และรับยาต่อ

Levonorgestrel 0.75 mg และซ้ำอีกครั้งในอีก 12 ชั่วโมง 
หรือOCPs 2 tabs (100 mg Ethinyl estradiol และ 0.5 mg levonorgestrel) และให้ซ้ำอีกครั้งใน 12 ชั่วโมง 

แนะนำไว้ว่าการให้ Hepatitis B vaccination

ควรมีการตรวจหาการติดเชื้อ HIV ซ้ำที่ 6 สัปดาห์, 3 เดือน และ 6 เดือน รวมถึงภาวะแทรกซ้อนในคนที่เลือกรับยา ARV และให้คำแนะนำเกี่ยวกับการงดมีเพศสัมพันธ์ในระหว่างที่ยังตรวจติดตามอาการ หรือใช้ถุงยาอนามัยทุกครั้งหากมีเพศสัมพันธ์ เพื่อป้องกันการแพร่เชื้อต่อผู้อื่น